วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การติดตั้งโปรแกรม Appserv 2.5.9

ดาวโหลดโปรแกรม Appserv ที่ www.kitt.kvc.ac.th โดยเลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการติดตั้ง
ขั้นตอนในการติดตั้ง โปรแกรม appserv โดยดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ Appserv เวอร์ชั่นที่ต้อง แล้วกด Next เพื่อที่ต้องการิดตั้ง แล้วจะปรากฏหน้าจอรายละเอียดต่างๆ แล้วคลิกที่ปุ่ม I Agree แล้วจะเข้าสู่ ปลายทางที่ต้องการจะติดตั้งโปรแกรมไว้ถ้าต้องที่จะเก้บไว้ที่ ไฟล์ที่แสดงอยู่ ให้คลิกที่ปุ่ม Next แต่ถ้าไม่ต้องการเก้บไว้ที่ไฟล์ที่แสดงอยู่ให้กดปุ่ม Browse เพื่อเปลี่ยนปลายทางที่ต้องการเก็บโปรแกรม เมื่อคลิกปุ่ม Next แล้ว จะปรากฏหน้าจอให้เลือก Package components ให้คลิกช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Next ต่อไปจะปรากฏหน้าจอให้เติมข้อมุลลงไปในช่งว่าง ช่องแรกให้เติมคำว่า "Localhost" ช่องที่ 2 เติวคำว่า Admin เมื่อเติมข้อมูลเส๊จให้กดปุ่ม Next จะเป้นการตั้งรหัส passwork ให้ตั้งเหมือนกันทั้ง 2 ช่อง เมื่อเติมเส็จแล้วให้กดปุ่ม Install มาถึงขั้นตอนสุดท้ายให่กดปุ่ม Finish เป้นการเส็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม
การติดตั้งโปรแกรม Appserv 2.5.9

ดาวโหลดโปรแกรม Appserv ที่ www.kitt.kvc.ac.th โดยเลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการติดตั้ง
ขั้นตอนในการติดตั้ง โปรแกรม appserv โดยดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ Appserv เวอร์ชั่นที่ต้อง แล้วกด Next เพื่อที่ต้องการิดตั้ง แล้วจะปรากฏหน้าจอรายละเอียดต่างๆ แล้วคลิกที่ปุ่ม I Agree แล้วจะเข้าสู่ ปลายทางที่ต้องการจะติดตั้งโปรแกรมไว้ถ้าต้องที่จะเก้บไว้ที่ ไฟล์ที่แสดงอยู่ ให้คลิกที่ปุ่ม Next แต่ถ้าไม่ต้องการเก้บไว้ที่ไฟล์ที่แสดงอยู่ให้กดปุ่ม Browse เพื่อเปลี่ยนปลายทางที่ต้องการเก็บโปรแกรม เมื่อคลิกปุ่ม Next แล้ว จะปรากฏหน้าจอให้เลือก Package components ให้คลิกช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Next ต่อไปจะปรากฏหน้าจอให้เติมข้อมุลลงไปในช่งว่าง ช่องแรกให้เติมคำว่า "Localhost" ช่องที่ 2 เติวคำว่า Admin เมื่อเติมข้อมูลเส๊จให้กดปุ่ม Next จะเป้นการตั้งรหัส passwork ให้ตั้งเหมือนกันทั้ง 2 ช่อง เมื่อเติมเส็จแล้วให้กดปุ่ม Install มาถึงขั้นตอนสุดท้ายให่กดปุ่ม Finish เป้นการเส็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม
Vocabulary database

1. database ดาต้า เบส หมายถึง ฐานข้อมูล ชุดของข้อมูลที่รวมเอาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นเรื่องราวเดียวกันรวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นชุดข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลนิสิต ฐานข้อมูลค้า และ ฐานข้อมูลวิชาเรียน เป็นต้น

2. DBMS (data base management system) ดาต้า เบส แมนนิทเมท. ซิทเท็ม หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้ หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย

3. Database Administrators : DBAs ดาต้าเบส แอสมินิสทราเตอร์ หมายถึง บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล กำหนดระบบวิธีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การสร้างระบบข้อมูลสำรอง การกู้และประสานงานกับผู้ใช้ว่ามีความต้องการใช้ข้อมูลอย่างไร รวมถึงการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ เพื่อให้นักเขียนโปรแกรมนำไปเขียนโปรแกรมที่ใช้ในการบริหารงานระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. Database Development ดาต้าเบส ดีวีล๊อบเมท. หมายถึงนักวิจัยผู้ที่ทำงานด้านวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งในและนอกสถาบันการศึกษา

5. Data Definition Language : DDL ดาต้า ดิฟฟินิชั่น แลงเก็ท เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)

6. Data Interrogation ดาต้า อิทโทโรเกชั่น ความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล

7. Graphical and Natural Queries กราฟฟิกเชี่ยว แอน เนทรูรอล ไขวเอ็ท ผู้ใช้หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ

8. Application Development แอ๊ปพิเคชั่น ดิวีล๊อบเมนท. โปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์

9. Data Manipulation Language : DML ดาต้า แมนนิทพลูเลชั่น แลงเก็ท การจัดการข้อมูลหมายถึง การเพิ่มข้อมูลใหม่ลงในฐานข้อมูล, การลบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานข้อมูล, การเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลในฐานข้อมูล และการค้นคืนข้อมูลจากฐานข้อมูล

10. Subject Area Database : SADB ซับเจ็ค แอเรียล ดาต้าเบส ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง

11. Analytical Database อะแนลลิทิคอล ดาต้าเบส เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้

12. Multidimensional Database มัลติดิเมนสนอล ดาต้าเบส เป็นฐานข้อมูลที่เข้าถึงโดยระบบประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบต่อตรง

13. Data Warehouses ดาต้า แวร์เฮาส์ เก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ

14. Distributed Databases ดิสทิบูดเทด. ดาต้าเบส ฐานข้อมูลแบบกระจาย หลายๆ องค์กรทำซ้ำ และกระจายสำเนา หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่

15. End User Databases เอ็น ยูเซอ ดาต้าเบส ฐานข้อมูลผู้ใช้ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ

16. Field ฟิวส์ เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว

17. Record เรครอท. จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น

18. Table เทเบิล จะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย

19. Entity เอ็นทิตี้ เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า

20. InfraStucture Management อินฟรา สตรักเจอ แมนนิทเมนท. หมายถึงการจัดการโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือ การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้ออำนวยให้เกิดความเจริญเติบโตต่างๆทั้งในด้านนโยบายและด้านกายภาพ เช่น ในด้านทรัพย์สินทางปัญญา